วันพุธที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2553

o-net 50




ตอบ 1 อธิบาย ความยาวคลื่นเปลี่ยนเมื่อความเร็วเปลี่ยน เนื่องจากความเร็วขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของตัวกลางถ้าบอกว่าคลื่นวิ่งผ่านตัวงกลางสองตัวกลางความหรนาแน่นต้องต่างกันทิศทางเปลี่ยนเนื่องจากคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางสองตัวกลางเป็นสมบัติการหักเหดังนั้นทิศทางเปลี่ยน
ที่มา : http://nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Light.htm




ตอบ 1อธิบาย โดยทั่วไปหลอดเทียบเสียงจะเป็นท่อพลาสติกหรือท่อโลหะเล็ก ๆ เรียงต่อกัน 6 ท่อ ซึ่งแต่ละท่อจะมีระดับเสียงตามสายกีตาร์ทั้ง 6 สาย เวลาจะตั้งสายคุณก็ดูช่องให้ตรงกับสายที่ต้องการตั้งเช่นสาย 5 โน๊ต A คุณก็ดูที่ท่อที่มีเขียนว่าAหรือสาย 5 แล้วก็เป่าหลอดเทียบเสียงพร้อมทั้งดีดสาย 5 คลอกันไปแล้วพยายามสังเกตเสียงของหลอดกับกีตาร์ว่าระดับเดียวกันหรือยัง

ที่มา : http://www.nsru.ac.th/oldnsru/data/guitar/

ตอบ 2 อธิบาย แสงนั้นวิ่งผ่านตัวกลางด้วยความเร็วจำกัด ความเร็วของแสงในสุญญากาศ c จะมีค่า c = 299,792,458 เมตร ต่อ วินาที (186,282.397 ไมล์ ต่อ วินาที) โดยไม่ขึ้นกับว่าผู้สังเกตการณ์นั้นเคลื่อนที่หรือไม่ เมื่อแสงวิ่งผ่านตัวกลางโปร่งใสเช่น อากาศ น้ำ หรือ แก้ว ความเร็วแสงในตัวกลางจะลดลงซึ่งเป็นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์การหักเหของแสง คุณลักษณะของการลดลงของความเร็วแสงในตัวกลางที่มีความหนาแน่นสูงนี้จะวัดด้วย ดรรชนีหักเหของแสง (refractive index) n โดยที่โดย n=1 ในสุญญากาศ และ n>1 ในตัวกลางเมื่อลำแสงวิ่งผ่านเข้าสู่ตัวกลางจากสุญญากาศ หรือวิ่งผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง แสงจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงความถี่ แต่เปลี่ยนความยาวคลื่นเนื่องจากความเร็วที่เปลี่ยนไป ในกรณีที่มุมตกกระทบของแสงนั้นไม่ตั้งฉากกับผิวของตัวกลางใหม่ที่แสงวิ่งเข้าหา ทิศทางของแสงจะถูกหักเห ตัวอย่างของปรากฏการณ์หักเหนี้เช่น เลนส์ต่างๆ ทั้งกระจกขยาย คอนแทคเลนส์ แว่นสายตา กล้องจุลทรรศน์ กล้องส่องท างไกล

ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87



ตอบ 2อธิบาย จากความสัมพันธ์ c = λf จะได้ดังนี้ λ = c/f λ =〖3x108m/s〗/〖88x106m/s〗 λ = 3.4 m

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/16869?page=0%2C28

ตอบ 4 อธิบาย แสงจากดวงอาทิตย์ (แสงสีม่วงและสีน้ำเงิน) เกิดการสะท้อนกลับสู่บรรยากาศเมื่อปะทะกับโมเลกุลก๊าซและอนุภาคฝุ่น ยิ่งมีก๊าซและฝุ่นใกล้พื้นผิวโลกมาก จะทำให้ท้องฟ้าเป็นสีฟ้าอ่อนมากขึ้น ขอขยายความต่อ ดังนี้ คลื่นที่ความยาวต่างๆ ที่ตามนุษย์มองเห็นและแยกออกได้ 7 สี ตั้งแต่ แดงที่มีความยาวคลื่นยาวที่สุด จากนั้นเป็นแสด เหลือง เขียว น้ำเงิน ครามและม่วงที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุด (รุ้งกินน้ำ เป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้เราได้เห็นแสงครบถ้วนทั้งเจ็ดสี) แล้วยังมีคลื่นที่ตามนุษย์ไม่สามารถเห็นได้ คือ รังสีอัลตราไวโอเล็ต ซึ่งมีความยาวคลื่นสั้น และรังสีอินฟราเรด ที่มีความยาวคลื่นยาว

ที่มา : http://www.leonics.co.th/html/th/aboutpower/greenway03.php

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น